Phongchate PICHITKUL
Publications
1. ธนากร ทราเจริญ และ พงศ์เชฎฐ์ พิชิตกุล. 2561. ผลของโซเดียมเบนทอไนต์ต่อความเป็นพิษเฉียบพลันและคุณภาพน้ำต่อปลากะพงขาว (Lates calcarifer). แก่นเกษตร 46 (6): 1095-1106.

2. จิรวัฒน์ ผลเพิ่มพูล, พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล, เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ และ สันติ พ่วงเจริญผล. 2560. ผลของอาหารต่างชนิดในการอนุบาลลูกปลาบู่หมาจู Brachygobius doriae (Gunther, 1868), น. 879–882. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 55 (สาขาพืช สาขาสัตว์ สาขาสัตวแพทย์ศาสตร์ สาขาประมง และสาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

3. ทินวุฒิ ล่องพริก ชุมพล ศรีทองเรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ และ พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล. 2560. ผลของการใช้ Tubular settlers เพื่อกำจัดปริมาณของแข็งแขวนลอยทั้งหมดในน้ำของการอนุบาลลูกปลานิลแดง (Oreochromis niloticus X O. mossambicus) ด้วยระบบน้ำหมุนเวียน, น. 665–677. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 55 (สาขาพืช สาขาสัตว์ สาขาสัตวแพทย์ศาสตร์ สาขาประมง และสาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

4. ทิพย์วิภา มีไชย ภาสิณี วรชนะนันท์ และ พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล. 2560. การเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตในการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei) แบบผสมผสานในระบบปิดและแบบพัฒนาต่อจุดคุ้มทุน, น. 931–939. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 55 (สาขาวิทยาศาสตร์และพันธุวิศวกรรม สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหกรรมเกษตร และสาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ.

5. อรรณพ ขุนทองน้อย พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล ยนต์ มุสิก และ เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์. 2560. การให้อากาศและโมลาสเพื่อควบคุมปริมาณแอมโมเนียสำหรับการเลี้ยงปลาดุกลูกผสม (Clarias macrocephalus X Clarias gariepinus) ในระบบปิด, น. 575–583. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 55 (สาขาพืช สาขาสัตว์ สาขาสัตวแพทย์ศาสตร์ สาขาประมง และสาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

6. พงศ์เชฏฐ์ พิชิตกุล. 2559. พรรณไม้น้ำในระบบแม่น้ำยมของจังหวัดสุโขทัย, น. 750-757. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 54 (สาขาสาขาพืช, สาขาสัตว์, สาขาสัตวแพทย์